แชร์

3 เทคนิคชงนมอย่างไรไม่ให้ลูกท้องอืด?

อัพเดทล่าสุด: 19 ก.ย. 2024
592 ผู้เข้าชม

สาเหตุที่ลูกท้องอืด
เนื่องจากขวดนมบางชนิดอากาศสามารถเข้าไปอยู่ในขวดนม ซึ่งทำให้ลูกน้อยมีโอกาสท้องอืดได้ ด้วยเหตุนี้คุณแม่ไม่ควรนิ่งนอนใจ มาดูวิธีชงนมให้ลูกน้อยอย่างถูกวิธีกันคะ

วิธีป้องกันฟองอากาศในขวดนม
เพื่อป้องกันไม่ให้ทารกสูดอากาศในปริมาณที่มากเกินไป

1. เลือกขนาดขวดนม
เลือกขนาดที่เหมาะสมกับลูกน้อยเพื่อป้องกันการเกิดอากาศในขวดนม

2. เลือกจุกนมที่มีอัตราการหยดต่ำ
เลือกจุกนมที่มีอัตราการหยดต่ำหรือรูที่มีขนาดพอดีไม่เล็กหรือใหญ่เกินเพราะจังหวะในการดูดนมและทารกลืนของลูกน้อยจะช่วยลดอากาศ

3. ใช้น้ำอุ่นประมาร 60 องศา
ใช้น้ำอุ่นประมาร 60 องศา โดยการเทน้ำใส่ขวด 1 ใน 3 ของขวดนมแล้วตักนมผงใส่ลงขวดนม จากนั้นใช้ช้อนคนนมที่ผสมกับน้ำแล้วค่อยเติมน้ำให้ได้ปริมาณที่ต้องการ

Nanosilver Silicone Baby Bottle. เบบี้ แทททู ขวดนมซิลิโคน นาโนซิลเวอร์
ที่ออกแบบช่องสูญญากาศ ช่วยป้องกันการไหลเข้าของอากาศ ขวดซิลิโคนนิ่มป้องกันการกระแทก และยังสามารถฆ่าเชื้ออุณหภูมิสูงถึง 40 องศา Nanosilver Silicone

มี 2 ขนาด : 250 มล. 8 ออนซ์ / 150 มล. 5 ออนซ์






บทความที่เกี่ยวข้อง
ทารกง่วงแต่ไม่ยอมนอน
พ่อแม่มือใหม่ต้องเคยเจอเหตุการณ์แบบนี้กันแน่เลยค่ะ ลูกน้อยดู ง่วงแต่กลับไม่ยอมนอน จะร้องเพลงกล่อมก็แล้ว…ตีก้นเบาๆก็แล้ว ก็ยังตาใสแป๋ว ฝืนสู้ไม่ยอมนอนทุกครั้ง งั้นเรามาแชร์ประสบการณ์กันดีกว่าค่ะ ว่าจะรับมือกับปัญหากับ ทารกไม่ยอมนอน และทำไมการนอนหลับถึงมีความสำคัญมากสำหรับพัฒนาการของเด็ก
18 เม.ย. 2025
ทารกท้องอืดวิธีแก้
พ่อแม่มือใหม่ต้องเคยเจอปัญหาคลาสิกแบบนี้แน่นอน คือ ทารกท้องอืด ด้วยความที่เขายังแบเบาะ พูดไม่ได้ ซึ่งนอกจากทำให้ลูกหงุดหงิดแล้ว ยังอาจทำให้กินนมได้น้อย นอนไม่หลับ และดูอึดอัดไปหมด แล้วเราจะรู้ได้ยังไงว่าเด็กทารกท้องอืดจริงๆ? มันเกิดจากอะไรได้บ้าง? เผื่อจะปรับให้ลูกสบายตัวมากขึ้นมาหาคำตอบไปด้วยกันค่ะ!
18 เม.ย. 2025
โคลิค_คือ
ทารกร้องไห้ตอนกลางคืนเป็นเรื่องปกติ แต่เมื่อใดที่ลูกร้องไม่หยุด หลายชั่วโมง หลายคืนติดต่อกัน แถมไม่ว่าจะอุ้ม กล่อม หรือให้นมก็ไม่ดีขึ้น คุณพ่อคุณแม่หลายคนอาจเริ่มสงสัย... "เอ๊ะ ลูกเราเป็นโคลิคหรือเปล่านะ?" เข้าใจหัวอกคนเป็นพ่อเป็นแม่เลยค่ะ พอได้ยินเสียงร้องไห้ของลูกที่ดังไม่หยุด คืนแล้วคืนเล่าที่พยายามทุกวิถีทางเพื่อให้ลูกสงบ แต่ดูเหมือนไม่มีอะไรช่วยได้ ซึ่งนี่อาจเป็นสัญญาณของภาวะที่เรียกว่า "โคลิค" ซึ่งพบได้บ่อยในทารกแรกเกิด
18 เม.ย. 2025
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy